3ศัพท์ทางการวิจัยทางสังคมศาสตร์-หมวดวิจัยเชิงคุณภาพ


กรณีศึกษา  Case study
การตรวจสอบข้อมูลสามเส้า  Triangulation
การประเมินโดยผู้เชี่ยวชาญ Connoisseurship
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ  Analyzing Data Qualitative
การวิเคราะห์คำหลัก  Domain Analysis
การวิเคราะห์โดยการจำแนกชนิดข้อมูล  Typological Analysis
การวิเคราะห์โดยการเปรียบเทียบเหตุการณ์  Constant Comparison
การวิเคราะห์สรุปอุปนัย  Analytic Induction
การวิเคราะห์ส่วนประกอบ  Component Analysis
การวิเคราะห์สารระบบ  Taxonomy Analysis
การวิเคราะห์สาเหตุและผล  Cause and Effect Analysis
การวิจัยเชิงชาติพันธ์ุพรรณนา  Ethnography research
การวิจัยเชิงชาติพันธ์ุวรรณนา  Ethnographic Study
การวิจัยเชิงคุณภาพ  Qualitative Research
การศึกษาเอกสารหลักฐานหรือข้อมูลที่มีอยู่ตามสภาพปกติ  Unobtrusive methods
การสนทนากลุ่มแบบเจาะจง  Focus Group Discussion
การสนทนากลุ่มย่อย  Group Interview or Group Discussion
การสร้างจินตนาการเชิงสังคมวิทยา  Sociology Imaginary
การสังเกต  Observation
การสังเกตโดยตรง และโดยอ้อม  Direct or Indirect Observation
การสังเกตโดยผู้ถูกสังเกตรู้ตัว และไม่รู้ตัว  Known or unknown observation
การสังเกตแบบมีระบบ และไม่มีระบบ  structured or unstructured observation
การสังเกตแบบมีส่วนร่วม  Participation Observation
การสังเกตแบบมีส่วนร่วม และไม่มีส่วนร่วม  participant or non-participant observation
การสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม  Non-participation observation
การสังเกตและการเข้าร่วม  Participation and Observation
การสัมภาษณ์  Interviews
การสัมภาษณ์เจาะลึก  In-depth Interview
การสัมภาษณ์แบบกลุ่ม/ราายบุคคล  group/individual interviews
การสัมภาษณ์แบบเป็นทางการ  Formal Interview 
การสัมภาษณ์แบบมี/ไม่มีระบบ  structured or unstructured interviews
การสัมภาษณืแบบไม่เป็นทางการ  Informal Interview
ข้อเสนอแนะ  Recommendation
ความเข้าใจในบริบท  Practical Purposes
ความสัมพันธ์  Relationship
จุดมุ่งหมายเชิงปฏิบัติการ  Practical purposes
ชีวประวัติ  Biographical life history
ญาณวิทยา  Epistemology
ทฤษฎีฐานราก Grounded theory
ทวีนิยม  Dualism
เทคนิคการบันทึกเหตุการณ์สำคัญ  Critical Incident Technique
เทคนิคการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ  Qualitative Data Analysis
เทคนิคในการเก็บรวบรวมข้อมูลในการวิจัยเชิงคุณภาพที่พัฒนามาจากการสัมภาษณ์  Life History Collection
แนวคิดเชิงจิตนิยม  Idealism
แนวคิดเชิงสารนิยมหรือวัตถุนิยม  Naturelism
แนวคิดเชิงพลังนิยม  Energetism
แนวคิดเชิงสสารนิยมหรือวัตถุนิยม  Materialism
แนวคิดเชิงเอกนิยม  Monism
แนวปฏิฐานนิยม  Positivism
แบบตรวจสอบรายการ  checklists
แบบบันทึกพฤติกรรม  anecdotal records
แบบมาตรฐาน ประมาณค่า  reting scales
ประชากรเป้าหมาย  Population
ปรากฎการณ์วิทยา  Phenomenology
มนุษยวิทยา  Anthropology
รูปแบบการศึกษาปรากฎการณ์ที่เกิดขึ้นแล้ว  Ex post facto designs
วิจารณ์ผล  Discussion
วิธีการศึกษาเฉพาะกรณี  Case Study Approach
อัตลักษณ์  Identity







ข้อมูลเมื่อวันที่ 19 กันยายน 2560 10:38:21 ปรับปรุงล่าสุดเมื่อวันที่ 31 มกราคม 2561 16:26:39 มีการเปิดอ่าน 1101 ครั้ง